ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ในเขตพื้นที่อำเภอจุน จังหวัดพะเยา จำนวน ๓๗ แห่ง
ที่ | แหล่งเรียนรู้ | ตำบล | ลักษณะเด่น | ที่ตั้ง |
๑ | บ้านสุขใจ (พี.อาร์. โมเดล) | ห้วยข้าวก่ำ | เกษตรกรใหม่(PR Model) | ม.๓ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๒ | ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอจุน | ห้องสมุดประชาชน | เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือและ ICT | ม.๑ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๓ | เจ้าพ่อฮักคำเขียว | ห้วยข้าวก่ำ | ศึกษาเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ | ม.๕ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๔ | วัดกู่ผางลาง | ห้วยข้าวก่ำ | เรียนรู้ด้านประเพณีและวัฒนธรรม | ม.๙ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๕ | วัดดอยกู่ไก่แก้ว | ห้วยข้าวก่ำ | เรียนรู้ด้านประเพณีและวัฒนธรรม | ม.๙ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๖ | วัดห้วยข้าวก่ำ | ห้วยข้าวก่ำ | เรียนรู้ด้านประเพณีและวัฒนธรรม | ม.๑ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ. จุน จังหวัดพะเยา |
๗ | โบราณสถานเวียงลอ | ตำบลลอ | ประวัติศาสตร์,ซากปรักหักพัง | หมู่ ๑ , หมู่ ๑๑ ตำบลลอ |
๘ | ศูนย์ศึกษาข้อมูลเวียงลอ | ตำบลลอ | เก็บวัตถุทางประวัติศาสตร์ | หมู่ ๑๑ ตำบลลอ |
๙ | มูลนิธิศูนย์ฝึกอบรมเกษตรกรรมและอาชีพ | ตำบลหงส์หิน | การทำเกษตรแบบอินทรีย์ | ๑๗๒ หมู่ที่ ๘ บ้านสักลอใหม่ตำบลหงส์หิน |
๑๐ | ศูนย์การเรียนชุมชนข้าวก่ำพะเยา | ตำบลหงส์หิน | การปลูกข้าวแบบอินทรีย์ | ๕๙ หมู่ที่ ๘ บ้านสักลอใหม่ตำบลหงส์หิน |
๑๑ | พระธาตุหงส์หิน | ตำบลหงส์หิน | ตำนานประวัติศาสตร์ความเป็นมาของตำบลหงส์หิน | หมู่ที่ ๑๑ บ้านสักพัฒนา ตำบลหงส์หิน |
๑๒ | พระธาตุม่อนหินขาว โบราณศักดิ์สิทธิ์ร้อยปี | ตำบลทุ่งรวงทอง | พิธีการสำคัญทางพระพุทธศาสนา | ๘ ชื่อหมู่บ้าน บ้านห้วยไคร้ใหม่ ตำบลทุ่งรวงทอง |
ที่ | แหล่งเรียนรู้ | ตำบล | ลักษณะเด่น | ที่ตั้ง |
๑๓ | กลุ่มศูนย์ผลิตภัณฑ์น้ำพริกข่าทรงเครื่องบ้านสันหลวงใหม่ | ตำบลทุ่งรวงทอง | การฝึกอาชีพ การเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตทางการเกษตรที่มีอยู่ในพื้นที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน | ๘๗ หมู่ที่ ๑๐ ต.ทุ่งรวงทอง |
๑๔ | บ้านต้นแบบตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | ตำบลทุ่งรวงทอง | เป็นบ้านต้นแบบตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทำไร่นาส่วนผสม | ๑๙๑ หมู่ที่ ๒ ชื่อหมู่บ้าน บ้านห้วยงิ้ว ตำบลทุ่งรวงทอง
|
๑๕ | วัดร่องแมด | ตำบลทุ่งรวงทอง | พิธีการสำคัญทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติธรรม | หมู่ที่ ๗ ชื่อหมู่บ้าน บ้านร่องแมด ตำบล ทุ่งรวงทอง |
๑๖ | วัดพญาลอ | ตำบลทุ่งรวงทอง | พิธีการสำคัญทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติธรรม | หมู่ที่ ๖ ชื่อหมู่บ้าน บ้านห้วยงิ้วใหม่ ตำบล ทุ่งรวงทอง |
๑๗ | เทศบาลตำบลทุ่งรวงทอง | ตำบลทุ่งรวงทอง | เป็นศูนย์ข้อมูล เป็นเครือข่ายทางวัฒนธรรมที่ให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในพื้นที่ตำบลทุ่งรวงทอง | หมู่ที่ ๔ ชื่อหมู่บ้าน บ้านร่องแมด ตำบล ทุ่งรวงทอง |
๑๘ | วัดพระธาตุขิงแกง | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นปูชนียสถานที่สำคัญเก่าแก่โบราณของอำเภอจุน จังหวัดพะเยา | วัดพระธาตุขิงแกง หมู่ที่ ๕ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๑๙ | วัดแม่ทะลาย | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นปูชนียสถานที่สำคัญของชาวบ้าน บ้านแม่ทะลาย | วัดแม่ทะลาย หมู่ที่ ๒ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๐ | วัดแม่วังช้าง
| ตำบลพระธาตุขิงแกง | ปูชนียสถานที่สำคัญของชาวบ้านบ้านแม่วังช้าง ชาวตำบลพระธาตุขิงแกง | วัดแม่วังช้าง หมู่ที่ ๑ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๑ | วัดบ้านธาตุ | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นปูชนียสถานที่สำคัญของชาวบ้านบ้านธาตุสันติธรรมหมู่ที่ ๓ บ้านธาตุขิงแกง | วัดบ้านธาตุ หมู่ที่ ๓ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๒ | ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดพระธาตุขิงแกง | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาแก่เยาชนและบุคคลทั่วไป | วัดพระธาตุขิงแกง หมู่ที่ ๕ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
ที่ | แหล่งเรียนรู้ | ตำบล | ลักษณะเด่น | ที่ตั้ง |
๒๓ | ประเพณีสรงน้ำพระธาตุขิงแกง | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นการรักษาประเพณีที่ดีงามเป็นการเสริมสร้างกำลังใจให้ชาวบ้านใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข มีที่พึ่งทางใจและอุ่นใจ | วัดพระธาตุขิงแกง หมู่ที่ ๕ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๔ | ประเพณีสืบชะตาหมู่บ้าน ของวัดพระธาตุขิงแกง
| ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นการรักษาประเพณีที่ดีงามเป็นการเสริมสร้างกำลังใจให้ชาวบ้านใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข | วัดพระธาตุขิงแกง หมู่ที่ ๕ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๕ | กลุ่มทอผ้าตีนจก และการย้อมผ้าฝ้ายด้วยสีธรรมชาติบ้านแม่วังช้าง | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นการรักษาประเพณีที่ดีงามเป็นการสืบสานการย้อมผ้าฝ้ายด้วยสีธรรมชาติ การทอผ้าตีนจก
| วัดพระธาตุขิงแกง หมู่ที่ ๕ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๒๖ | ป่าต้นน้ำแม่ทะลาย (ป่าตะเคียนงาม) | ตำบลพระธาตุขิงแกง | เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ธรรมชาติ การศึกษาพันธุ์ไม้หายาก เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งอยู่ในเขตอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ | หมู่ที่ ๒ ตำบลพระธาตุขิงแกงอำเภอจุนจังหวัดพะเยา |
๒๗ | วัดพระธาตุสามดวง | ตำบลห้วยยางขาม | วัดพระธาตุสามดวงเดิมชื่อพระเจดีย์สามองค์ หรือที่เรียกตามภาษาท้องถิ่นว่า พระธาตุสามดวง ถือเป็นพุทธศาสนาที่เก่าแก่ | หมู่ ๓ ตำบลห้วยยางขาม อำเภอจุน จังหวัดพะเยา |
๒๘ | พระธาตุศรีไตรรัตน์ | ตำบลห้วยยางขาม | พระธาตุศรีไตรรัตน์เป็นพระธาตุเจดีย์ที่เก็บพระบรมสารีริกธาตุ ที่ได้รับจากเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย | เลขที่ ๒๑๗ หมู่ที่ ๘ บ้านปงสนุก ตำบลห้วยยางขาม |
๒๙ | วัดแผ่นดินทอง | ตำบลห้วยยางขาม | วัดแผ่นดินทองตั้งอยู่ที่บ้านแผ่นดินทอง หมู่ที่ ๙ ตำบลห้วยยางขาม อำเภอจุนจังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย | หมู่ที่ ๙ ตำบลห้วยยางขาม อำเภอจุนจังหวัดพะเยา |
๓๐ | วัดห้วยยางขาม | ตำบลห้วยยางขาม | วัดห้วยยางขามตั้งอยู่บ้านห้วยยางขาม หมู่ ๒ ตำบลห้วยยางขาม อำเภอจุน จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย | หมู่ ๒ ตำบลห้วยยางขาม อำเภอจุน จังหวัดพะเยา |
ที่ | แหล่งเรียนรู้ | ตำบล | ลักษณะเด่น | ที่ตั้ง |
๓๑ | อ่างเก็บน้ำแม่จุน | ตำบลจุน | อ่างเก็บน้ำแม่จุน อยู่ในพื้นที่ตำบลจุน อำเภอจุน จังหวัดพะเยา เดินทางจากตัวอำเภอจุนไปทางถนนสายอำเภอปง ประมาณ ๕ กิโลเมตร | ๔ .ชื่อหมู่บ้านบ้านเซี้ยะ ตำบลจุน |
๓๒ | คริสตจักรร่องดู่ | ตำบลจุน | เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๑๔ โดย นายแก้ว นามสาม ซึ่งเป็นชาวบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้โดยการชักชวนของนายสุข สีสัน เป็นคนบ้านร่องดู่ ไปแต่งงานกับชาวบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้ แล้วได้กลับมาอยู่บ้านร่องดู่ อำเภอจุน | ๑๐ ชื่อหมู่บ้าน บ้านร่องดู่ ตำบลจุน |
๓๓ | บ้านเศรษฐกิจพอเพียง | ตำบลจุน | บ้านเกษตรพอเพียง มีการทำเกษตรแบบผสมผสาน เช่น เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู ทำนา ปลูกมะม่วง มะละกอ
| ๔๐๓ หมู่ที่ ๓ ชื่อหมู่บ้าน บ้านค้างหงษ์ ตำบลจุน |
๓๔ | วัดจุนหลวง | ตำบลจุน | เป็นสถานที่ประดิษฐาน องค์พระหนัก ซึ่งเป็นพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ เป็นพระสิงห์สาม ที่มีลักษณะงดงาม หน้าตักกว้าง ๑๘ นิ้ว สูง ๒๖ นิ้ว ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมือง ของชาวตำบลจุน | ๒ ชื่อหมู่บ้าน บ้านจุนหลวง ตำบลจุน |
๓๕ | วัดสร้อยศรี | ตำบลจุน | ศาสนสถาน วัดสร้อยศรี ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑๖ บ้านสร้อยศรีพัฒนา ตำบลจุน อำเภอจุน จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ ๖ ไร่ ๑ งาน | ๑๖ ชื่อหมู่บ้าน บ้านสร้อยศรี ตำบลจุน |
๓๖ | วัดพระธาตุร่องดู่ | ตำบลจุน | ศาสนสถาน วัดร่องดู่เดิมทีเป็นวัดเก่าแก่สมัยเวียงลอ สังเกตได้จากฐานเจดีย์เก่าที่ปัจจุบันได้สร้างพระอุโบสถและเจดีย์ครอบเอาไว้ว่ากันว่าสมัยก่อนได้พบพระเครื่องพระบูชาสมัยเชียงแสนเป็นจำนวนมาก | ๖๕ หมู่ที่ ๑๐ ชื่อหมู่บ้าน บ้านร่องดู่ตำบลจุน |
๓๗ | เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอ | ตำบลจุน | เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอ มีจุดเด่นคือทัศนียภาพที่สวยงาม อุดมไปด้วยพืชพันธุ์ไม้และสัตว์ป่า | ๔ บ้านเซี้ยะ ตำบลจุน |
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ในเขตพื้นที่อำเภอจุน จังหวัดพะเยา จำนวน ๓๖ คน
ที่ | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | ลักษณะเด่น / สาขา | ที่ตั้ง |
๑ | นายวิสุทธิ์ สมฤทธิ์ | การเกษตร แบบพี.อาร์.โมเดล | ม.๕ ตำบลห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๒ | นายเลิศ มะโนแก้ว | วิทยากรด้านการจักสาน | ๒๐ ม.๕ต. ห้วยห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๓ | นายไฝ เสมอเชื้อ | ศาสนาและประเพณีไทย | ๒๐๓ หมู่ที่ ๓ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๔ | นายอภิชาต กันยะมี | ภาษาและวรรณกรรม | ๘๙/๒ หมู่ที่ ๔ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๕ | นายบุญธรรม ตันดี | ศิลปกรรม (การเล่นดนตรีพื้นเมือง) | ๒๓/๒ หมู่ ๑ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๖ | นายมานพ ไชยมงคล | ศิลปกรรม (การเล่นดนตรีพื้นเมือง) | ๗๑ หมู่ ๗ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๗ | นายวิชิต สมสิงห์ | ศิลปกรรม (การเล่นดนตรีพื้นเมือง) | ๖๓ หมู่ ๑ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๘ | นายนิทัศน์ หลวงราช | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๑๐๑ หมู่ ๙ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๙ | นายพนม ไชยโนฤทธิ์ | หัตถกรรม | ๑๗๒ หมู่ ๙ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๐ | นางเล็ก สีสัน | การทำขนมไทย | ๔ หมู่ ๑ ต.ห้วยข้าวก่ำ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๑ | นางสร้อย ประจวบบุญ | หัตถกรรม | ๕๖ หมู่ ๕ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๒ | นายนิคม วงค์กา | ศิลปกรรม | ๑๖๒ ม.๖ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๓ | นางศิริวรรณ นันทะเสน | ศิลปกรรม |
|
๑๔ | นายอานนท์ มีชัย | ศิลปกรรม | ๑๒๖ หมู่ ๓ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๕ | นางอรอนงค์ ดาดไธสง | เกษตรกรรม | ๕๑ /๑ หมู่ ๓ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๖ | นางอรอนงค์ ดาดไธสง | เกษตรกรรม | ๕๑ /๑ หมู่ ๓ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๗ | นางสาววันริสา ใจเขียว | ศิลปกรรม | ๔๖๖ หมู่ ๙ ตำบลลอ อ.จุน จ.พะเยา |
๑๘ | นายประทัด ถาหล้า | การแพทย์แผนไทย | ๓๓๕ ม. ๗ บ้านสันทราย ตำบลหงส์หิน |
๑๙ | นางนารี สักลอ | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๒๕๖ ม.๒ บ้านสักลอ ตำบลหงส์หิน |
๒๐ | นางชุม ธิมัน | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๓๙๕ ม.๗ บ้านสันทราย ตำบลหงส์หิน |
๒๑ | นางลินดา ทามุคาอิ | การแพทย์แผนไทย | ๘๖ ม.๙ บ้านพวงพะยอม ตำบลหงส์หิน |
๒๒ | นายอิ่นคำ สักลอ | ศาสนาและประเพณีไทย | ๕๖ ม.๒ บ้านสักลอ ตำบลหงส์หิน |
ที่ | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | ลักษณะเด่น / สาขา | ที่ตั้ง |
๒๓ | นายสะอาด สักลอ | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๒ ม.๒ บ้านสักลอ ตำบลหงส์หิน |
๒๔ | นายเดย เครือเทพ | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๒๓๙ ม.๗ บ้านพวงพะยอมพัฒนา ตำบลหงส์หิน |
๒๕ | นางน้อย วงค์ชัย | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๔๙ ม. ๕ บ้านพวงพะยอม ตำบลหงส์หิน |
๒๖ | นายอภัย ประเสริฐไทย | เกษตรกรรม | ๑๙๑ บ้านห้วยงิ้ว หมู่ที่ ๒ ตำบลทุ่งรวงทอง |
๒๗ | พระครูอดุลวุฒิกิจ | ศาสนาและประเพณีไทย | หมู่ที่ ๖ ชื่อหมู่บ้าน บ้านห้วยงิ้วใหม่ ตำบล ทุ่งรวงทอง |
๒๘ | นายอ้วน ขันทะวงศ์ | ภาษาและวรรณกรรม | ม.๙ บ้านทุ่งรวงทอง ตำบลทุ่งรวงทอง |
๒๙ | นางจิดาภา มิ่งขวัญ | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๑๓๓/๑ หมู่ ๙ บ้านทุ่งรวงทอง ตำบลทุ่งรวงทอง |
๓๐ | พระครูนิปุณพัฒนกิจ
| ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม | วัดพระธาตุขิงแกง ตำบลพระธาตุขิงแกงอำเภอจุนจังหวัดพะเยา |
๓๑ | นายวัชรพล พระบาลี | สินค้าประเภทโอท็อป | ๑๗๕ หมู่ที่ ๓ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๓๒ | นายพล พรมเสน
| สินค้าประเภทโอท็อป | ๘๔ / ๑หมู่ที่ ๑บ้านแม่วังช้าง ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๓๓ | นายถนอม คุณารูป | และปุ๋ยหมักอัดเม็ด | ๑๓๒ หมู่ที่ ๘ ตำบลพระธาตุขิงแกง |
๓๔ | นายทนงชัย ชายวิชัย | (การเล่นดนตรีพื้นเมือง) | ๗๔/๒ หมู่ ๑๔บ้านดอนชัยพัฒนา ตำบลจุน |
๓๕ | พ่ออุ้ยคลี ละอองอ่อน | อุตสาหกรรมและหัตถกรรม | ๑๔ หมู่ที่ ๖บ้านฝั่งหมิ่นตำบลห้วยยางขาม |
๓๖ | นายศรี อริณเป็ง | แพทย์แผนไทย | ๖ หมู่ที่ ๙ บ้านแผ่นดินทอง ตำบลห้วยยางขาม |